ชื่อ-สกุล (พร้อมตำแหน่ง) |
ดร.ชาติชาย มุกสง , ผู้ช่วยศาสตราจารย์ |
Name (position) |
Chatichai Muksong, Assistant Professor |
โทรศัพท์/Tel. |
081-6663593 |
อีเมล์/ E-mail |
kchatichai@yahoo.com |
ประวัติการศึกษา (Qualifications) |
ระดับการศึกษา
Degrees |
วุฒิการศึกษา
Qualifications |
สถานที่ศึกษา
Institutions |
ประเทศ
Countries |
ปีที่สำเร็จการศึกษา
Year Graduated |
ปริญญาเอก
Philosophy of
Doctor |
อักษรศาสตรดุษฎีบัณฑิต (อ.ด.) |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Chulalongkorn University |
ไทย |
2556 |
ปริญญาโท
Master of Art |
ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ศศ.ม) |
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
Thammasat University |
ไทย |
2549 |
ปริญญาตรี
Bachelor of Art |
นิติศาสตรบัณฑิต (นบ.) |
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
Thammasat University |
ไทย |
2540 |
|
สาขาที่เชี่ยวชาญ(Specialty) |
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยใหม่ ประวัติศาสตร์สังคม ประวัติศาสตร์วัฒนธรรม ประวัติศาสตร์การแพทย์
modern Thai history, social history, cultural history, history of medicine |
ทุนวิจัยที่ได้รับ /Funding received |
ชื่องานวิจัยที่รับทุน |
แหล่งทุน |
ปีงบประมาณ
ที่ได้รับทุน |
ประวัติศาสตร์และวิวัฒนาการของโรคมาลาเรียในประเทศไทย |
กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข |
2560 |
ประวัติศาสตร์สังคมและวัฒนธรรมของโรคระบาดในสังคมไทย |
คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ |
2559 |
จากไพร่เปลี่ยนผ่านเป็นพลเมือง: วิถีชีวิตและวัฒนธรรมคนไทยในยุคเปลี่ยนผ่านสู่สังคมไทยสมัยใหม่ |
คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ |
2559 |
วิถีชีวิตและวัฒนธรรมของไพร่ในสังคมไทยก่อนสมัยใหม่ |
คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ |
2558 |
ห้องเรียนประชาธิปไตย : การออกแบบหลักสูตรและการสร้างนวัตกรรมการเรียนรู้วัฒนธรรมประชาธิปไตยในการเรียนการสอน |
คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ |
2558 |
โครงการวิจัยเพื่อผลิตตำราการเรียนการสอนพื้นฐานด้านประวัติศาสตร์การแพทย์ |
สำนักวิจัยสังคมและสุขภาพ |
2552 |
โครงการเวทีนโยบายสาธารณะ: การสัมมนาผู้รู้เห็นประวัติศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุขไทย (Public Policy Forum: Witness Seminar on the History of Thai Medicine and Public Health) |
สำนักวิจัยสังคมและสุขภาพ |
2550 |
การวิจัยสถานะองค์ความรู้ด้านประวัติศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุขไทย |
สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข. |
2546 |
การวิจัยเพื่อพัฒนาระบบการพึ่งตนเองด้านสุขภาพในระดับครัวเรือนและชุมชน |
สำนักงานคณะกรรมการสภาวิจัยแห่งชาติ |
2542 |
|
ผลงานตีพิมพ์ทางวิชาการ (บทความวิจัย/บทความวิชาการ/หนังสือ/ตำรา / Publication |
บทความ |
|
- ชาติชาย มุกสง. (2561). นโยบายมาลาเรียในยุคสงครามเย็นกับการขยายอำนาจรัฐเวชกรรมสู่ชนบทไทย ทศวรรษ 2490-2510. วารสารสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ปีที่ 21 ฉบับที่ 1 (มกราคม-ธันวาคม).
- ชาติชาย มุกสง. (2560). จากไข้ป่าสู่มาลาเรีย: การบุกเบิกพื้นที่เกษตรกรรมความเป็นเมืองและชนบทในประวัติศาตร์สังคมของโรคมาลาเรียทศวรรษ 2440-2470. หน้า 39-62. ใน รายงานสืบเนื่องการประชุมเสนอผลงานวิชาการและผลงานสร้างสรรค์สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์. กรุงเทพฯ: คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
- ชาติชาย มุกสง (2560). หัวลมก่อนลูกคลื่นจะกระเพื่อมทะเลสาบ: กรณี “อ้ายมากตุด” กับการศึกษาประวัติศาสตร์วัฒนธรรมโจรในลุ่มทะเลสาบสงขลาท่ามกลางกระแสการก่อตัวของรัฐสมบูรณาญาสิทธิราชย์สยาม. เอกสารประกอบการสัมมนาวิชาการระดับชาติ เครือข่ายประวัติศาสตร์ มานุษยวิทยา และสังคมวิทยาภาคใต้ ครั้งที่ 3 ประจำปี 2560 เรื่อง “ฆาตกรรม อาชญากรรม และภาวะนอกกฎหมายในภาคใต้ของไทย” 25 สิงหาคม 2560 ณ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์. หน้า 26 - 37.
- ชาติชาย มุกสง. (สิงหาคม 2558 – กรกฎาคม 2559). “การเมืองเรื่องการพัฒนา”: นโยบายโภชนาการชนบทกับการรุกคืบของรัฐในการพัฒนาสุขภาพชาวบ้านในชุมชนยุคสงครามเย็น”. วารสารประวัติศาสตร์. ปีที่ 40. หน้า 52 - 76.
- ชาติชาย มุกสง. (2559). หนึ่งร้อยปีแห่งความห่อเหี่ยว : สามัญชนวิถีแห่งการดิ้นรนและการย้ายถิ่นข้ามเมืองในลุ่มทะเลสาบสงขลาระหว่างทศวรรษ 2420-2430. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ เวทีวิจัยมนุษยศาสตร์ไทย ครั้งที่ 10. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี ณ โรงแรมรัชมังคลาสงขลา เมอร์เมด อ.เมือง จ.สงขลา ระหว่างวันที่ 19-20 กันยายน 2559. หน้า 663 - 685.
- Chatichai Muksong. (2016). “In the Time of Facing and Fear: The Case of Cholera Breakout in the Siam in the 1880s”. Proceedings of 2016 International Symposium on Economics and Social Science – Summer Session, 12-14 July 2016. Kyoto, Japan. P. 985 - 994
- ชาติชาย มุกสง. (2548). วาทกรรมทางการแพทย์กับนโยบายการสร้างชาติสมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม (พ.ศ. 2481-2487). ใน สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ปีที่17 ฉบับที่1. หน้า 45-89.
- ชาติชาย มุกสง. (2548). จากการกินที่ขาดมาสู่การกินที่เกิน: ปฏิทรรศน์ของภาวะโภชนาการในสังคมไทยสมัยใหม่. วารสารสหศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล. ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 (พฤศจิกายน 2548). หน้า 79-117.
- ชาติชาย มุกสง. (2547). สงครามยาบ้า: การเสพย์ติดความรุนแรงในสังคมไทย. ปาจารยสาร, ปีที่ 30 ฉบับที่ 3 (มีนาคม –มิถุนายน 2547). หน้า 35-40.
- ชาติชาย มุกสง. (2548). วาทกรรมทางการแพทย์กับนโยบายการสร้างชาติสมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม (พ.ศ. 2481-2487). ใน สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ปีที่17 ฉบับที่1. หน้า 45-89.
- ชาติชาย มุกสง. (2549). ข้อเสนอการสร้างกระบวนการและกลไกที่โปร่งใส และมีประสิทธิภาพสำหรับระบบยาของประเทศไทยด้วยวิธีการบูรณาการ. วารสารสหศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล. ปีที่ 6 ฉบับที่ 1 (เมษายน 2549). หน้า 5-32.
- ชาติชาย มุกสง. (2551). วิจัยเป็นประจำ. สุขศาลา ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มีนาคม 2551) หน้า 23-25.และเป็นนักเขียนประจำคอลัมน์นี้เกี่ยวกับการคิดและการทำงานวิจัยในชีวิตการทำงานของบุคลากรสาธารณสุข
- ชาติชาย มุกสง.(2553-2554). “ประวัติศาสตร์ที่หายไป: คนเล็กๆ ที่ถูกลืมกับวิธีการศึกษาแนวจุลประวัติศาสตร์ (Microhistory),” วารสารประวัติศาสตร์, หน้า 48-75.
- ชาติชาย มุกสง. (2555), “การแพทย์ในประวัติศาสตร์: พัฒนาการของการศึกษาประวัติศาสตร์การแพทย์ในสังคมตะวันตกโดยสังเขป,” วารสารประวัติศาสตร์, หน้า 1-14.
- ชาติชาย มุกสง. (2557). “2475 กับการปฏิวัติรสชาติอาหาร : จากกินเพื่ออยู่สู่กินเพื่อชาติและการต่อสู้ทางวัฒนธรรมของรสชาติในสังคมไทยร่วมสมัย”. ใน สุธาชัย ยิ้มประเสริฐ และทิพาพร ตันติสุนทร (บรรณาธิการ). จาก 100ปี ร.ศ. 130 ถึง 80 ปีประชาธิปไตย. กรุงเทพฯ: สถาบันนโยบายศึกษา, หน้า 155-213.
- ชาติชาย มุกสง. (2559). “ปากท้องยามสงครามโลกครั้งที่ 2: การรณรงค์ “ทำสวนครัวและเลี้ยงสัตว์” กับจุดพลิกผันในนโยบายอาหารการกินของรัฐไทย” จุลสารหอจดหมายเหตุธรรมศาสตร์ ฉบับที่ 19 (มิถุนายน-พฤษภาคม 2559), หน้า 59-69. (TCI กลุ่มที่ 3)
- ชาติชาย มุกสง. (2558). “”การเมืองเรื่องการพัฒนา”: นโยบายโภชนาการชนบทกับการรุกคืบของรัฐในการพัฒนาสุขภาพชาวบ้านในชุมชนยุคสงครามเย็น”. วารสารประวัติศาสตร์. ปีที่ 40 (สิงหาคม 2558-กรกฎาคม 2559). (TCI กลุ่มที่ 2)
- ชาติชาย มุกสง. (2558). “จากแม่ศรีเรือนถึงแม่บ้านทันสมัย: การต่อสู้ทางศีลธรรมผ่านแม่บ้านหลังปฏิวัติ 2475 ถึงทศวรรษ 2500”. ชุมทางอินโดจีน ปีที่ 4 ฉบับที่ 7 กรกฎาคม-ธันวาคม 2558. หน้า 95-115. (โครงการประชุมวิชาการระดับชาติ เวทีวิจัยมนุษยศาสตร์โลกครั้งที่ 9 เรื่อง “ ปัญญาชน ศีลธรรมและภาวะสมัยใหม่ : เสียงของมนุษยศาสตร์ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้” วันที่ 27-28 สิงหาคม 2558 มหาวิทยาลัยนเรศวร จ. พิษณุโลก), (งานประชุมวิชาการระดับชาติ).
- Chatichai Muksong. (2515). Chicken Conquered the Kitchen: How Poultry and Eggs Became the Leading Protein in Thai Cuisine. รายงานในการสัมมนาทางวิชาการระดับนานาชาติทางด้านสังคมศาสตร์ (International Conference on Social Science) ระหว่างวันที่ 6-8 กรกฎาคม พ.ศ. 2558 ณ เขตบริหารพิเศษฮ่องกง แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน (แผ่นซีดี)
|
หนังสือ |
|
|
- ชาติชาย มุกสง. (2561). หน่วยที่ 9 การเยียวยารักษาความเจ็บป่วยในวิถีไทย. ใน วสันต์ รัตนโภคา บรรณาธิการ). เอกสารการสอนชุดวิชาวิถีไทย (12310) สาขาวิชาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. นนทบุรี: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, หน้า 9-1-56
- โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์ และชาติชาย มุกสง (บรรณาธิการ). (2545). พรมแดนความรู้ประวัติศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุขไทย. นนทบุรี: แผนงานวิจัยสังคมและสุขภาพ สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข.
- ชาติชาย มุกสง. (2548). ธรรมาภิบาลการเมืองแบบมีส่วนร่วมของผู้บริโภค: ศึกษากรณีกลุ่มคุ้มครองผู้บริโภคสี่แยกสวนป่า อ.บางขัน จ.นครศรีธรรมราช. นนทบุรี: สำนักวิจัยสังคมและสุขภาพ.
- ชาติชาย มุกสง. (2550). ผี-พราหมณ์กับความคิดความเชื่อเรื่องความตายในสังคมไทย. ใน โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์, ชาติชาย มุกสง และคณะ, (บรรณาธิการ). (2550). วัฒนธรรม ความตาย กับวาระสุดท้ายของชีวิต.นนทบุรี: สำนักวิจัยสังคมและสุขภาพ.
- ชาติชาย มุกสง. (2550). นิยามสุขภาพ. ใน โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์ ชาติชาย มุกสง ประชาธิป กะทา และวรัญญา เพ็ชรคง. วัฒนธรรม สุขภาพกับการเยียวยา: แนวคิดทางสังคมและมานุษยวิทยาการแพทย์.นนทบุรี: สำนักวิจัยสังคมและสุขภาพ.
- โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์, วรัญญา เพ็ชรคง และชาติชาย มุกสง (2547). มุสลิม ราชการ และการแพทย์: พหุลักษณ์ทางการแพทย์ในชุมชนอิสลาม. ใน ชาติพันธุ์กับการแพทย์. กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน).
- โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์, ชาติชาย มุกสง และคณะ. (2547). พลวัตสุขภาพกับการพึ่งตนเอง: ภาคชนบท. นนทบุรี: สำนักวิจัยสังคมและสุขภาพ.
- โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์ และคณะ. (2547). พลวัตสุขภาพกับการพึ่งตนเอง: ภาคเมือง. นนทบุรี: สำนักวิจัยสังคมและสุขภาพ.
- โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์, ชาติชาย มุกสง และคณะ (2548). งานคือความดีที่หล่อเลี้ยงชีวิต. นนทบุรี: สำนักวิจัยสังคมและสุขภาพ.
- โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์, ชาติชาย มุกสง และคณะ (2549). ความดีที่เยียวยา. นนทบุรี: สำนักวิจัยสังคมและสุขภาพ.
- โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์ วรพงษ์ เวชมาลีนนท์ ชาติชาย มุกสง และวรัญญา เพ็ชรคง(บรรณาธิการ). (2550). สันติ-สุขภาวะ: สันติวิธีกับการจัดการความขัดแย้งในระบบสุขภาพ. นนทบุรี: สำนักวิจัยสังคมและสุขภาพ.
- ชาติชาย มุกสง และคณะ (บรรณาธิการ). (2550). สุขภาพไทย วัฒนธรรมไทย. นนทบุรี: สำนักวิจัยสังคมและสุขภาพ.
- ชาติชาย มุกสง และวรัญญา เพ็ชรคง (บรรณาธิการ). (2550).พยาบาลไร้หมวก. กรุงเทพฯ: บริษัท มีดีกราฟฟิค จำกัด.
- ชาติชาย มุกสง และคณะ (บรรณาธิการ). (2550). วัฒนธรรม ความตาย กับความหลากหลายทางชาติพันธุ์: มอญ โซ่ง กะเหรี่ยง ม้ง เย้า. นนทบุรี: สำนักวิจัยสังคมและสุขภาพ.
- ชาติชาย มุกสง และคณะ. (2550). วิถีทางเลือกกับการพึ่งตนเอง: ศาสนา ความเชื่อ กับการแสวงหาสุขภาวะ. นนทบุรี: สำนักวิจัยสังคมและสุขภาพ.
- ชาติชาย มุกสง และคณะ. (2550). องค์กรไม่ใช่เครื่องจักร: การบริหารจัดการกระบวนทัศน์ใหม่. นนทบุรี: สำนักวิจัยสังคมและสุขภาพ.
- Chatichai Muksong and Komartra Chuengsatiansup. (2012). “Medicine and Public Health in Thai Historiography: From an Elitist View to Counter-Hegemonic Discourse.” Pp. 226-245. In Laurence Monnais and Harold J. Cook (eds.). Global Movements, Local Concerns : Medicine and Health in Southeast Asia. National University of Singapore Press: Singapore, 2012.
|
|
 |