ชื่อ-สกุล (พร้อมตำแหน่ง)  

ดร.ศิริพร ดาบเพชร, รองศาสตราจารย์

Name (position) 

Dr.Siriporn Dabphet , Associate Professor

โทรศัพท์/Tel.

026495160

อีเมล์/ E-mail

sdabphet@g.swu.ac.th

ประวัติการศึกษา (Qualifications)

ระดับการศึกษา
Degrees

วุฒิการศึกษา
Qualifications

สถานที่ศึกษา
Institutions

ประเทศ
Countries

ปีที่สำเร็จการศึกษา
Year Graduated

ปริญญาเอก Ph.D. (History)

มหาวิทยาลัยแห่งชาติสิงคโปร์
(National University of Singapore)

สิงคโปร์

(Singapore)

พ.ศ. 2556

(ค.ศ. 2013)

ปริญญาโท

M.A. (History)

มหาวิทยาลัยแห่งชาติสิงคโปร์
(National University of Singapore)

 

สิงคโปร์

(Singapore)

พ.ศ. 2552

(ค.ศ. 2009)

ปริญญาโท

ศศ.ม. (ประวัติศาสตร์เอเชีย)

M.A. (Asian History)

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
Srinakharinwirot University

ไทย

(Thailand)

พ.ศ. 2543

(ค.ศ. 2000)

ปริญญาตรี

ศศ.บ.(ประวัติศาสตร์ เกียรตินิยมอันดับ 2)

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
Srinakharinwirot University

ไทย

(Thailand)

พ.ศ. 2540

(ค.ศ. 1997)

 

สาขาที่เชี่ยวชาญ(Specialty)

ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกสมัยใหม่; …ประวัติศาสตร์สังคมไทย (กฎหมายสมัยจารีต)
Modern East Asian History; Social Thai History… (Traditional Thai law)…

ทุนวิจัยที่ได้รับ /Funding received

ชื่องานวิจัยที่รับทุน แหล่งทุน

ปีงบประมาณ
ที่ได้รับทุน

ความไม่เท่าเทียมทางเพศและการเคลื่อนไหวเพื่อสิทธิสตรีในเกาหลีใต้ ทุนวิจัยเงินรายได้คณะสังคมศาสตร์ 2563
นโยบายสังคมสูงวัย : บทเรียนจากญี่ปุ่น

ทุนวิจัยเงินรายได้คณะสังคมศาสตร์

2562

การจัดการความขัดแย้งในจีน: กรณีมุสลิมอุยกูร์ในซินเจียง สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย  (สกว.) 2561
ไทพวนนครนายก: วัฒนธรรม วิถีชีวิต ภูมิปัญญา กับแนวทางพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ ทุนวิจัยเงินรายได้คณะสังคมศาสตร์ 2561
การสร้างภาพลักษณ์ของญี่ปุ่นผ่านวัฒนธรรมประชานิยมในทศวรรษ 1980 - 2010 ทุนวิจัยเงินรายได้คณะสังคมศาสตร์ 2561
แนวคิดเรื่องผู้มีบุญในสังคมไทยจากอดีตถึงปัจจุบัน  ทุนวิจัยเงินรายได้คณะสังคมศาสตร์ 2560
ชีวิตชาวบ้านในยุคต้นกรุงเทพ: ศึกษาจากเอกสารชั้นต้น ทุนวิจัยเงินรายได้คณะสังคมศาสตร์ 2559
การเปลี่ยนแปลงด้านสังคมและผลกระทบต่อสังคมจีนตั้งแต่
สมัยปฏิวัติวัฒนธรรม
ทุนส่งเสริมนักวิจัยรุ่นใหม่ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย 2558
การเปลี่ยนแปลงของสังคมญี่ปุ่นยุคหลังสงครามถึงปัจจุบัน ทุนวิจัยเงินรายได้คณะสังคมศาสตร์ 2558
สภาพและปัญหาของการประกันคุณภาพการศึกษาในระดับหลักสูตร ของคณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ทุนวิจัยเงินรายได้คณะสังคมศาสตร์ 2558
พลวัติจีนภายใต้ 40 ปี นโยบายปฏิรูปและเปิดประเทศ ทุนวิจัยเงินรายได้คณะสังคมศาสตร์ 2557
พระไอยการกระบดศึก กฎหมายว่าด้วยความมั่นคงของสถาบันพระมหากษัตริย์และบ้านเมือง โครงการวิจัยเมธีวิจัยอาวุโส สกว. โครงการ โครงการ"กฎหมายตราสามดวง : ประมวลกฎหมายไทยในฐานะมรดกโลก" ในความสนับสนุนของสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ดร.วินัย พงศ์ศรีเพียร เมธีวิจัยอาวุโส หัวหน้าโครงการ ระหว่าง พ.ศ. 2545 – 2548 2545
พระไอยการพรมศักดิ : ค่าของคนและบทปรับเมื่อกระทำความผิด โครงการวิจัยเมธีวิจัยอาวุโส สกว. โครงการ  โครงการ"กฎหมายตราสามดวง : ประมวลกฎหมายไทยในฐานะมรดกโลก" ในความสนับสนุนของสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ดร.วินัย พงศ์ศรีเพียร เมธีวิจัยอาวุโส หัวหน้าโครงการ ระหว่าง พ.ศ. 2545 – 2548 2545
การบริหารราชการกรมมหาดไทย โครงการวิจัยเมธีวิจัยอาวุโส สกว. โครงการ  โครงการ"กฎหมายตราสามดวง : ประมวลกฎหมายไทยในฐานะมรดกโลก" ในความสนับสนุนของสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ดร.วินัย พงศ์ศรีเพียร เมธีวิจัยอาวุโส หัวหน้าโครงการ ระหว่าง พ.ศ. 2545 – 2548 2545
พระไอยการบานแผนก สถานภาพบุคคลและการจัดระเบียบสังคมไทยสมัยโบราณ โครงการวิจัยเมธีวิจัยอาวุโส สกว. โครงการ "กฎหมายตราสามดวง : ประมวลกฎหมายไทยในฐานะมรดกโลก" ในความสนับสนุนของสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ดร.วินัย พงศ์ศรีเพียร เมธีวิจัยอาวุโส หัวหน้าโครงการ ระหว่าง พ.ศ. 2545 – 2548 2545

ผลงานตีพิมพ์ทางวิชาการ (บทความวิจัย/บทความวิชาการ/หนังสือ/ตำรา / Publication

1. บทความ
 
  1. เครือมาศ มารอด และศิริพร  ดาบเพชร. (2563). การเปลี่ยนแปลงการใช้พื้นที่ชุมชนป้อมมหากาฬ พ.ศ. 2502 – 2561. การประชุมวิชาการระดับชาติ “มศว วิจัย” ครั้งที่ 13 วันที่ 25-26 มีนาคม 2563 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. หน้า หน้า 1172-1185.
  2. Siriporn Dabphet. (2019). Japan’s Aging Policies and a Lesson for Thailand’s Aging Society. Proceedings of 11th Academic International Conference on Social Sciences and Education– AICSSE 2019, Cambridge, UK. 2nd-4th December 2019. pp. 83-93.
  3. Siriporn Dabphet. (2019). Japan's Nation Branding through Pop Culture Diplomacy in 1980s-2010s: A Case Study in Thailand. The 2019 International Symposium on Social Sciences and Management. Hokkaido, Japan 22–24 January 2019.
  4. ศิริพร ดาบเพชร. (2562, มกราคม - มิถุนายน). อาเซียน สิ่งมหัศจรรย์ผู้สร้างสันติภาพ The ASEAN Miracle A Catalyst for Peace. วารสารเอเชียปริทัศน์ ปีที่ 40 ฉบับที่ 1: 173-177.
  5. Siriporn Dabphet.  (2018, July - December). "Mao Zedong Thought" and the Cultural Revolution.  International od East Asain Studies. Vol.22  No.2: 22 - 35.
  6. ศิริพร  ดาบเพชร. (2560, มกราคม-ธันวาคม). แนวคิดผู้นำกับการเปลี่ยนแปลงของจีนในสมัยปฏิวัติวัฒนธรรมและสมัยปฏิรูป. วารสารสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ปีที่ 20. หน้า 257-270.
  7. Siriporn Dabphet. (2018). Notion of Holy man in Thai Society from Past to Present. Proceedings of the 2018 ICBTS International Academic Multidisciplinary Research Conference, 1 – 3 March 2018, Vienna, Austria. pp. 10 – 18.
  8. Siriporn Dabphet. (2017). The History of Everyday Life in the Nineteenth-Century Thailand. Proceedings of the 14th International Conference on Social Science and Humanities (ICSSH), 13-14 June 2017, Singapore. pp. 51 – 60.
  9. ศิริพร  ดาบเพชร. (2560). ปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงของญี่ปุ่นตั้งแต่หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ถึงปัจจุบัน. รวมบทความวิจัยการประชุมวิชาการระดับชาติ SMARTS ครั้งที่ 7 วันที่ 30 มิถุนายน2560. หน้า 250 - 262.
  10. Siriporn Dabphet. (2016). China’s Economic Development: Income Inequality and Ethnicity. Proceedingsof The 2016 ICBTS International Social Sciences Humanities and Education Research Conference. Boston, USA.  June 28 – July 4, 2016. pp. 87 – 94.
  11. Siriporn Dabphet. (2015). Lessons from China’s Experince in Its Development. Proceedings of The International Conference: The 11th Inter-University Cooperation Program, “ASIAN Community Knowledge Networks for the Economy, Society, Culture, and Environmental Stability” Kathmandu University, Kathmandu, Federal Democratic Republic of Nepal, 30 March - 3 April, 2015. pp. 335 - 345.
  12. ศิริพร ดาบเพชร. (2557). “Anpo Protests: พัฒนาการของการเคลื่อนไหวทางการเมืองในญี่ปุ่นยุคหลังสงคราม”, วารสารสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 17: 328 - 338.
  13. ศิริพร ดาบเพชร. (2557). “ภาวะไร้รากของสังคมจีน: ภาพสะท้อนจากกรณีฝ่าหลุนกง” วารสารประวัติศาสตร์. 39: 134-151.
  14. ศิริพร ดาบเพชร. (2557). สยามสมัยในหลักฐานประวัติศาสตร์: คดีผู้มีบุญและการแอบอ้างจากเอกสารกฎหมายในต้นรัตนโกสินทร์. วารสารสมาคมประวัติศาสตร์ฯ  36:  117-142.
  15. ศิริพร ดาบเพชร. (2553– 2554). นัยยะทางการเมืองของพระราชพิธีบรมราชาภิเษกในรัชกาลที่ 6. วารสารประวัติศาสตร์, ฉบับพิเศษ 50 ปี เอกประวัติศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. หน้า 30 – 47.
  16. ศิริพร ดาบเพชร. (2552). แนะนำหนังสือ Yang, Mayfair (ed.). Chinese Religiosities: Afflictions of Modernity and State Formation. Berkeley: University of California Press. 2008. วารสารประวัติศาสตร์. หน้า 144 – 148.
  17. Siriporn Dabphet. (2010). State and Religion in Nineteenth-Century Thailand. In UTCP Booklet 17, The University of Tokyo, Center for Philosophy, pp. 53 – 63. (Online: www.utcp.c.utokyo.ac.jp/publications/.../UTCPBooklet17_04_Dabphet.pd...)
  18. ศิริพร ดาบเพชร. (2551).  ความสำคัญของพระราชพิธีบรมราชาภิเษก: ข้อสังเกตกรณีสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช, โลกประวัติศาสตร์ เล่ม 4/2551 เอกสารวิชาการประวัติศาสตร์และไทยศึกษา, คณะอนุกรรมการจัดทำเอกสารทางวิชาการโลกประวัติศาสตร์ ในคณะกรรมการชำระประวัติศาสตร์ไทย กระทรวงวัฒนธรรม. หน้า 1 – 5.
  19. ศิริพร ดาบเพชร. (2551). การเมืองเบื้องหลังพระราชพิธี :พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวกับการสร้างพิธีกรรมใหม่   สายธารแห่งความคิด 3, กรุงเทพฯ: กองทุนเพื่อวิชาการ วรุณยุพา สนิทวงศ์ฯ
  20. ศิริพร ดาบเพชร. (2551). “การสร้างความมั่นคงของสถาบันพระมหากษัตริย์และบ้านเมือง: ศึกษาจากพระอัยการกบฏศึกในกฎหมายตราสามดวง” วารสารสังคมศาสตร์ มศว  หน้า 48 – 63
  21. ศิริพร ดาบเพชร. (2548). การพาณิชย์นาวีและพิพิธภัณฑ์พาณิชย์นาวี เอกสารทางวิชาการ “โลกประวัติศาสตร์” ลำดับที่ 2/2548 และพิมพ์ซ้ำในวารสารสมาคมประวัติศาสตร์ฯ ฉบับที่ 28 (พ.ศ.2549)
  22. ศิริพร ดาบเพชร. (2548). “พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวกับการปรับปรุงบ้านเมือง ภาพสะท้อนจากประชุมประกาศรัชกาลที่ 4”, โลกประวัติศาสตร์ เล่ม 4 ไทยในยุคของการเปลี่ยนแปลง เอกสารวิชาการประวัติศาสตร์และไทยศึกษา สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ. หน้า 25 – 38.
  23. ศิริพร ดาบเพชร. (2548). “พระมหาธีรราชเจ้า”, โลกประวัติศาสตร์ เล่ม 3 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวกับพระราชวังสนามจันทร์ เอกสารวิชาการประวัติศาสตร์และไทยศึกษา สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ. หน้า 32– 36.
  24. ศิริพร ดาบเพชร. (2548). “ค่าของคน” และ “บทปรับ” ในกฎหมายตราสามดวง. วารสารประวัติศาสตร์, 2548.
  25. ศิริพร ดาบเพชร. (2548). การบริหารราชการกรมมหาดไทย ศึกษาจากพระไอยการตำแหน่งนาพลเรือนในกฎหมายตราสามดวง. วารสารสมาคมประวัติศาสตร์ฯ ฉบับ 27
  26. ศิริพร ดาบเพชร. (2546). พระไอยการบานแผนก สถานภาพบุคคลและการจัดระเบียบสังคมไทยสมัยโบราณ. วารสารประวัติศาสตร์, 2546.
  27. ศิริพร ดาบเพชร. (2545). นโยบายสี่ทันสมัยกับการพัฒนาเศรษฐกิจของจีน. วารสารสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 2545. (เขียนร่วมกับ อนงคณา มานิตพิสิฐกุล) หน้า 47 - 67
  28. ศิริพร ดาบเพชร. (2545).  การแย่งชิงอำนาจในกลุ่มผู้นำพรรคคอมมิวนิสต์จีน. วารสารประวัติศาสตร์. หน้า 76-102
  29. ศิริพร ดาบเพชร. (2544).  จีนสมัยราชวงศ์หมิงตอนต้น. ปริทรรศน์ประวัติศาสตร์ รวมบทความเพื่อเป็นเกียรติแด่รองศาสตราจารย์วุฒิชัย มูลศิลป์ เนื่องในโอกาสเกษียณอายุราชการ พ.ศ. 2544. วินัย พงศ์ศรีเพียร (บรรณาธิการ) . กรุงเทพฯ : ครรลองไทย.

2. หนังสือ /ตำรา

 

 

  1. ศิริพร ดาบเพชร. (2562). ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกสมัยใหม่. กรุงเทพฯ: คณะสังคมศาสตร์ มศว.
  2. ศิริพร ดาบเพชร. (2561). การปฏิวัติวัฒนธรรมในจีน. กรุงเทพฯ: คณะสังคมศาสตร์ มศว.
  3. ศิริพร ดาบเพชร. (2559). ญี่ปุ่นกับการสร้างจักรววรดินิยม. กรุงเทพฯ: คณะสังคมศาสตร์ มศว
  4. ศิริพร ดาบเพชร. (2556). ประวัติศาสตร์จีนสมัยใหม่ จากคริสต์ศตวรรษที่ 19 ถึงปัจจุบัน. กรุงเทพฯ: เลย์ปรินส์การพิมพ์.
  5. ศิริพร ดาบเพชร. (2556). ประวัติศาสตร์ญี่ปุ่นสมัยใหม่: จากปลายสมัยโทกุงาวะถึงการสิ้นสุดจักรวรรดินิยมญี่ปุ่น. กรุงเทพฯ: เลย์ปรินส์การพิมพ์.
  6. ศิริพร ดาบเพชร. (2550).  เจาะเวลาหาอดีต ตอน ย้อนยุคกรุงศรีอยุธยา. กรุงเทพ ฯ : สำนักพิมพ์สุวีริยาสาส์น. พิมพ์ครั้งที่สอง (พิมพ์ครั้งแรก พ.ศ.2546).
  7. ศิริพร ดาบเพชร. (2549). เจาะเวลาหาอดีตสู่ยุครุ่งอรุณแห่งความสุข สุโขทัย กรุงเทพ ฯ : สำนักพิมพ์สุวีริยาสาส์น.
  8. ศิริพร ดาบเพชร. (2547). เจาะเวลาตามรอยกรุงรัตนโกสินทร์. กรุงเทพ ฯ : สำนักพิมพ์สุวีริยาสาส์น.
  9. ศิริพร ดาบเพชร. (2547). พระปิยมหาราชัน. กรุงเทพ ฯ : สำนักพิมพ์สุวีริยาสาส์น.
  10. ศิริพร ดาบเพชร. (2546). ยานมหัศจรรย์ย้อนเวลา ตามรอยประวัติศาสตร์ไทย. กรุงเทพ ฯ : สำนักพิมพ์สุวีริยาสาส์น.
  11. วุฒิชัย มูลศิลป์, ศิริพร ดาบเพชร และ อนงคณา มานิตพิสิฐกุล. (2546).  พระมหากษัตริย์แห่งกรุงรัตนโกสินทร์. กรุงเทพฯ: เกรท เอดดูเคชั่น จำกัด. 
  12. ศิริพร ดาบเพชร. (2545).   ประวัติศาสตร์ไทยเชิงวิเคราะห์. กรุงเทพฯ: กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ. เขียน หัวข้อ  “การคุกคามของจักรวรรดินิยมตะวันตกและการต่อสู้เพื่อรักษาเอกราช” และ “ไทยกับเศรษฐกิจการตลาด”

3. หนังสือแบบเรียน

 
 
  1. หนังสือกิจกรรมประกอบวิชาประวัติศาสตร์ ประวัติศาสตร์ ม.4 - 6 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม. บริษัทอักษรเจริญทัศน์ อจท. จำกัด. (2557).
  2. หนังสือเรียน อาเซียนศึกษา”ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-6  กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551.  บริษัทอักษรเจริญทัศน์ อจท. จำกัด.  (2556).
  3. หนังสือเรียน รายวิชาเพิ่มเติม ม.4 - ม.6 โลกศึกษา. กรุงเทพฯ: บริษัทอักษรเจริญทัศน์ อจท. จำกัด.  (2551).
  4. หนังสือเรียน สมฐ หลักสูตรแกนกลาง ประวัติศาสตร์ไทย ม.4-ม.6.และประวัติศาสตร์สากล ม.4-ม.6  กรุงเทพฯ: บริษัทอักษรเจริญทัศน์ อจท จำกัด.  (2551).
  5. หนังสือเรียน สมฐ ประวัติศาสตร์ ม.1. กรุงเทพฯ: บริษัทอักษรเจริญทัศน์ อจท จำกัด.  (2551).
  6. หนังสือเรียนพื้นฐาน วิชาประวัติศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6 หลักสูตร พ.ศ. 2544. กรุงเทพฯ: กระทรวงศึกษาธิการ.  (2545).
4. งานบรรณาธิการหนังสือ
 
  1. วุฒิชัย  มูลศิลป์. วิกฤติการณ์ ร.ศ. 112 : ป้อมพระจุลจอมเกล้ากับการรักษาเอกราชของชาติ ฉบับปรับปรุงและขยาย. กรุงเทพฯซ สำนักพิมพ์ต้นฉบับ  พ.ศ. 2557)
  2. วุฒิชัย  มูลศิลป์. การปฏิรูปการศึกษาในแผ่นดินสมเด็จพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว. กรุงเทพฯ: คณะกรรมการอำนวยการจัดงานเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จัดพิมพ์เป็นที่ระลึกในโอกาสที่วันพระบรมราชสมภพครบ ๑๕๐ ปี พุทธศักราช ๒๕๔๖.
  3. บรรณาธิการวารสารประวัติศาสตร์ พ.ศ. 2546
  4. บรรณาธิการวารสารสมาคมประวัติศาสตร์ฯ ฉบับที่ 28 พ.ศ. 2549
 
ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
114 ซอยสุขุมวิท 23 ถนนสุขุมวิท แขวงตลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพฯ 10110
โทรศัพท์และโทรสาร 0 - 26495160